Get Adobe Flash player

UserOnline

เรามี 1 บุคคลทั่วไป ออนไลน์
User Rating: / 1
แย่ดีที่สุด 

ระดับหลักสูตร

องค์ประกอบที่ ๑  การกำกับมาตรฐาน

ตัวบ่งชี้ที่ ๑. การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนดโดย สกอ.

องค์ประกอบที่ ๒ บัณฑิต

ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๑ คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๒ (ปริญญาตรี) ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน ๑ ปี

องค์ประกอบที่ ๓  นักศึกษา

ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๑ การรับนักศึกษา

ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๒ การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา


ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๓ ผลที่เกิดกับนักศึกษา

องค์ประกอบที่ ๔  อาจารย์

ตัวบ่งชี้ที่ ๔.๑ การบริหารและพัฒนาอาจารย์

ตัวบ่งชี้ที่ ๔.๒ คุณภาพอาจารย์

ตัวบ่งชี้ที่ ๔.๓ ผลที่เกิดจากอาจารย์

องค์ประกอบที่ ๕ หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน

ตัวบ่งชี้ที่ ๕.๑ สาระของรายวิชาในหลักสูตร

ตัวบ่งชี้ที่ ๕.๒ การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน

ตัวบ่งชี้ที่ ๕.๓ การประเมินผู้เรียน

ตัวบ่งชี้ที่ ๕.๔ ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

องค์ประกอบที่ ๖  สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

ตัวบ่งชี้ที่  ๖.๑  สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

ระดับสถาบัน

ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๑ ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม

ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๒ อาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก

 

ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๔.๑  จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ ระดับคณะ

ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๔.๒  การบริการนักศึกษาระดับปริญญาตรี

ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๕ กิจกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรี

องค์ประกอบที่ ๒ การวิจัย

ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๑ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์

ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๒ เงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสร้างสรรค์

ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๓ ผลงานวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย

 

องค์ประกอบที่ ๓ การบริการวิชาการ

ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๑ การบริการวิชาการแก่สังคม

องค์ประกอบที่ ๔   การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

ตัวบ่งชี้ที่ ๔.๑ ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

 

องค์ประกอบที่ ๕ การบริหารจัดการ

ตัวบ่งชี้ที่ ๕. การบริหารของสถาบันเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจ กลุ่มสถาบัน และเอกลักษณ์ของสถาบัน

๕.๑. ข้อ ๑ พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT กับวิสัยทัศน์ของสถาบัน และพัฒนาไปสู่แผนกลยุทธ์ทางการเงินและแผนปฏิบัติการประจำปีตามกรอบเวลาเพื่อให้บรรลุผลตามตัวบ่งชี้และเป้าหมายของแผนกลยุทธ์

๕.๑.ข้อ ๒ การกำกับติดตามส่งเสริมสนับสนุนให้ทุกคณะดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูลทางการเงินที่ประกอบไปด้วยต้นทุนต่อหน่วยในแต่ละหลักสูตร สัดส่วนค่าใช้จ่ายเพื่อพัฒนานักศึกษา อาจารย์ บุคลากร การจัดการเรียนการสอน อย่างต่อเนื่อง เพื่อวิเคราะห์ความคุ้มค่าของการบริหารหลักสูตร ประสิทธิภาพ ประสิทธิผลในการผลิตบัณฑิต และโอกาสในการแข่งขัน

๕.๑.ข้อ ๓ ดำเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยง ที่เป็นผลจากการวิเคราะห์และระบุปัจจัยเสี่ยงที่เกิดจากปัจจัยภายนอก หรือปัจจัยที่ไม่สามารถควบคุมได้ที่ส่งผลต่อการดำเนินงานตามพันธกิจของสถาบันและให้ระดับความเสี่ยงลดลงจากเดิม

๕.๑.ข้อ ๔ บริหารงานด้วยหลักธรรมาภิบาลอย่างครบถ้วนทั้ง ๑๐ ประการที่แสดงผลการดำเนินงานอย่างชัดเจน

๕.๑ ข้อ ๕ การกำกับติดตามส่งเสริมสนับสนุนให้ทุกหน่วยงานในสถาบันมีการดำเนินการจัดการความรู้ตามระบบ

๕.๑ ข้อ ๖. การกำกับติดตามผลการดำเนินงานตามแผนการบริหารและแผนพัฒนาบุคลากรสายวิชาการและสายสนับสนุน

๕.๑ ข้อ ๗. การกำกับติดตามส่งเสริมสนับสนุนให้ทุกหน่วยงานในสถาบันมีการดำเนินงานด้านการประกันคุณภาพภายในตามระบบและกลไกที่สถาบันกำหนด ประกอบด้วย การควบคุมคุณภาพ การตรวจสอบคุณภาพ และการประเมินคุณภาพ

ตัวบ่งชี้ที่ ๕.๒ ผลการบริหารของคณะ

ตัวบ่งชี้ที่ ๕.๓ ระบบกำกับติดตามการประกันคุณภาพหลักสูตรและคณะ

สายตรงผู้อำนวยการ

 

suchada1

นางสุชาดา  นิ้มวัฒนากุล

ผู้อำนวยการวิทยาลัย

พยาบาลบรมราชชชนี สุรินทร์